Display mode (Doesn't show in master page preview)
Skip Ribbon Commands
Skip to main content

ข้อมูลพื้นฐานน่าน

แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างดำ จิตรกรรมวัดภูมินทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง

 
 

ดอกเสี้ยวดอกขาว

 

พระธาตุแช่แห้งประดิษฐาน
มาบนหลังโคอศุภราช

 

ต้นกำลังเสือโคร่ง

วิดีโอเมืองน่าน

การปกครอง
(15 อำเภอ 99 ตำบล 890 หมู่บ้าน)

 
 
  • 1. อำเภอเมืองน่าน
  • 2. อำเภอแม่จริม
  • 3. อำเภอบ้านหลวง
  • 4. อำเภอนาน้อย
  • 5. อำเภอปัว
  • 6. อำเภอท่าวังผา
  • 7. อำเภอเวียงสา
  • 8. อำเภอทุ่งช้าง
  • 9. อำเภอเชียงกลาง
  • 10. อำเภอนาหมื่น
  • 11. อำเภอสันติสุข
  • 12. อำเภอบ่อเกลือ
  • 13. อำเภอสองแคว
  • 14. อำเภอภูเพียง
  • 15. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ภูมิภาคในประเทศ

ภาคเหนือตอนบนของประเทศ

จำนวนประชากร

ทั้งหมด 475,614 คน ชาย 239,911 คน หญิง 235,703 คน (เด็ก 124,500 คน ผู้สูงอายุ 70,515 คน

จำนวนโรงเรียน นักเรียน และครู

385 โรงเรียน (ระดับประถมศึกษา 356 โรงเรียน มัธยมศึกษา 29 โรงเรียน) นักเรียน 60,160 คน ครู 4,341 คน มหาวิทยาลัย /วิทยาลัย 6 แห่ง

ชนเผ่า

ประชากรในจังหวัดน่านมีอยู่อย่างเบาบางเป็นอันดับ 3 ของประเทศกระจัดกระจายไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ

แม่น้ำสำคัญ

ศิลปวัฒนธรรม

ผ้าพื้นเมืองน่าน 3 แบบ คือ ลายล้วง ลายเก็บมุก ลายคาดก่าน

บายศรีสู่ขวัญ หรือพิธีเรียกขวัญมาสู่ตน บายสรี (อ่านว่า บายสี) "ข้าวขวัญ"ข้าวที่ จัดเพื่อเป็นสิ่งมงคล

การแข่งเรือยาว จัดแข่งกันเองในหน้าน้ำในเทศกาลตานก๋วยสลาก (สลากภัต)

ประเพณีการสืบชะตา แต่ละครั้งต้องมีพระสงฆ์เข้ามาเกี่ยวข้อง

กลองปู่จา เป็นกลองขนาดใหญ่ ทำด้วยไม้สัก ไม้ประดู่ หรือไม้ดอกแก้ว ขึงด้วยหนังที่ทำจากหนังวัวใช้ตีเพื่อแจ้งว่าจะมีการทำบุญทอดกฐิน

ตาแหลว สัญลักษณ์ทางพิธีกรรม มี 4 อย่าง คือ ตาแหลวหลวง ตาแหลวคาเขียวตาแหลวแม่ม่ายตาแหลวหมายไร่หมายนา

ตุงทาน ตุงหรือธง เป็นสัญลักษณ์ทำมาจากกระดาษ ผ้า ไม้ ละโลหะ ตามคติที่เชื่อว่ามี 3 โลกคือ เทวโลก มนุษย์โลก นรกโลก

ขึด การสักยันต์ เป็นเครื่องบ่งบอกความเป็นชายชาตรี ใช้ป้องกันตัวยามศึกสงคราม